การทำงานอย่างมีผลผลิตและผลิตภาพในยุคหลังโควิด-19

การทำงานอย่างมีผลผลิตและผลิตภาพในยุคหลังโควิด-19 (Productive Work and Productivity: Post COVID Era)   โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ฮาร์วาร์ด ประธาน สถาบันการสร้างชาติ

COWELL – Micro Model: ข้อเสนอ ดร.แดน “โมเดลโคเวล” – ธุรกิจจุลภาคฝ่าวิกฤติ COVID อย่างไร

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   การแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัส 2019 หรือ COVID-19 เป็นวิกฤตการณ์ด้านสุขภาพ ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวางทั่วโลก สถานการณ์ของโรคระบาดที่แพร่ระบาดได้ง่ายและยังไม่มียารักษาหรือวัคซีนป้องกัน ทำให้คาดการณ์ได้ยากว่า สถานการณ์นี้จะรุนแรงเพียงใด และจะสิ้นสุดลงเมื่อใด เมื่อการคาดการณ์สถานการณ์ไม่ได้แน่ชัด การรับมือกับวิกฤตการณ์ครั้งนี้จึงเป็นเหมือนการลองผิดลองถูกในระดับหนึ่ง และอาจอ้างอิงจากแนวทางการจัดการกับวิกฤติที่มีลักษณะใกล้เคียงกันและเคยเกิดขึ้นในอดีตเสียเป็นส่วนใหญ่

4 คำถาม จาก ดร.แดน เพื่อหยุดวงจรโควิดก่อน 2 ปี

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   เราต้องอยู่กับวงจรโควิด-19 ราว 2 ปี นั่นคือ อีกนานราว 18 เดือน หรือจนกว่าการพัฒนาวัคซีนจะสำเร็จ … ที่ผ่านมา ผู้เชี่ยวชาญด้านไวรัสวิทยาและระบาดวิทยา ต่างให้ข้อมูลตรงกันว่า การพัฒนาวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อาจต้องใช้เวลาอย่างน้อย 12-18 เดือน ในมุมมองของผม ระหว่างที่รอการพัฒนาวัคซีนให้สำเร็จและใช้ได้ทั่วโลก เราจำเป็นต้องยอมคลายการล็อกดาวน์ ให้คนในสังคมกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติให้มากที่สุด ตราบไม่ทำให้การระบาดรุนแรงอีก โดยมุ่งให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่เคยหยุดต้องเริ่มเปิดให้ดำเนินต่อไปได้บ้าง การรณรงค์ ‘อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ’ ไม่สามารถทำได้หลาย ๆ เดือน เพราะเศรษฐกิจจะเสียหายหนักเกินกว่าจะให้คนส่วนใหญ่อยู่รอดได้

พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้านบาท กระตุ้นเศรษฐกิจได้จริงหรือ?

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   เมื่อวันที่ 19 เม.ย.ที่ผ่านมา ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) 3 ฉบับ เพื่อกู้เงินรวม 1.9 ล้านล้านบาท เพื่อแก้ปัญหาและเยียวยาผลกระทบการแพร่ระบาด COVID-19 ที่เกิดขึ้น โดย พ.ร.ก. 3 ฉบับ นี้ประกอบด้วย  

COVID-19 New Normal : เศรษฐกิจ

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   ผมได้นำเสนอความเห็นไว้ในบทความก่อนหน้านี้ว่า วิกฤตการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19 จะเข้ามาปฏิวัติหรือเป็นตัวเร่งให้เกิด “ความปกติใหม่” “หรือ PANDEMIC (COVID) New Normal” อันเป็นสถานการณ์ทั่วไปที่เกิดขึ้นในโลกที่แตกต่างจากสถานการณ์เดิมในปัจจุบัน ซึ่งในบทความนี้ผมจะขอนำเสนอตัวอย่างของความปกติใหม่ด้านเศรษฐกิจ

1 2