บทเรียนปรัชญาชีวิตจากสถานการณ์โควิด 19 (Philosophical Lessons from Covid-19)

โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ฮาร์วาร์ด ประธาน สถาบันการสร้างชาติ   ประวัติศาสตร์ของมนุษย์อาจกำลังเปลี่ยนไปอย่างถาวร จากสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างรุนแรงไปทั่วโลกของไวรัสโควิด 19 ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนครั้งยิ่งใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น วิถีชีวิต วิถีความสัมพันธ์ วิถีการทำงาน ฯลฯ จากการพิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยหลักปรัชญาที่มีในชีวิต ผมได้ตกผลึกทางความคิดจนเกิดเป็นบทเรียนสำคัญที่คาดว่าจะเกิดประโยชน์สำหรับทุกท่าน เพื่อสามารถก้าวต่อไปในอนาคตอย่างมีความพร้อมและความเข้าใจ ดังต่อไปนี้

ผมขอทำนายโดยเสนอ “โมเดล PANDEMIC New Normal” ความปกติใหม่ (New Normal) กับโรคระบาดแนว COVID จะเกิดขึ้นต่อนี้ไป

โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ฮาร์วาร์ด ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นับตั้งแต่ปลายปี 2019 เป็นต้นมา มีหลายสถานการณ์เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น การลอบสังหารนายพลอิหร่านโดยสหรัฐอเมริกา จนทำให้เกิดความหวั่นวิตกว่าจะกลายเป็นสงครามโลกครั้งที่ 3 เครื่องบินยูเครนถูกยิงตกจากความผิดพลาดของกองทัพอิหร่าน วิกฤตควันไฟป่าในออสเตรเลียที่สร้างผลกระทบต่อสภาพอากาศทั่วโลก วิกฤตฝุ่น PM 2.5 เกินมาตรฐานในหลายเมืองทั่วโลก ภูเขาไฟประทุในฟิลิปปินส์ แผ่นดินไหวในตุรกี

วงจรชีวิต 2 ปี กับ COVID-19

โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ฮาร์วาร์ด ประธาน สถาบันการสร้างชาติ   สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ที่ระบาดในช่วงที่ผ่านมาจนกระทั่งปัจจุบัน ผมคาดการณ์ว่า มีความเป็นไปได้จะคงอยู่ยาวนานอาจถึงราว 2 ปี และมีแนวโน้มจะส่งผลทำให้สถานการณ์กลายเป็น new normal หรือ ความปกติใหม่ในอนาคต อันส่งผลกระทบเปลี่ยนวิถีชีวิตของประชาชน ด้วยเหตุผลสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ การปิดพื้นที่ระดับจุลภาคจะไม่ได้ผล เพราะการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสยังมีโอกาสเกิดในพื้นที่ที่ไม่ถูกปิด ส่งผลทำให้ปัญหายืดเยื้อ

ประเทศไทยควรเข้าร่วม CPTPP หรือไม่?

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประธานสถาบันการสร้างชาติ (NBI) ในขณะที่ประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหาวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 อยู่เวลานี้ รัฐบาลต้องตัดสินใจว่าจะบริหารจัดการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอย่างไร เพื่อให้เกิดผลกระทบทางลบน้อยที่สุด ยังมีอีกประเด็นหนึ่งที่รัฐบาลกำลังต้องเผชิญการตัดสินใจครั้งสำคัญ นั่นคือ ประเทศไทยควรจะเข้าร่วมเป็นสมาชิก CPTPP หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership (ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก) หรือไม่  

4 คำถาม จาก ดร.แดน เพื่อหยุดวงจรโควิดก่อน 2 ปี

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน) ประธาน สถาบันการสร้างชาติ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   เราต้องอยู่กับวงจรโควิด-19 ราว 2 ปี นั่นคือ อีกนานราว 18 เดือน หรือจนกว่าการพัฒนาวัคซีนจะสำเร็จ … ที่ผ่านมา ผู้เชี่ยวชาญด้านไวรัสวิทยาและระบาดวิทยา ต่างให้ข้อมูลตรงกันว่า การพัฒนาวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อาจต้องใช้เวลาอย่างน้อย 12-18 เดือน

1 2